อุทุมพริกสูตร

ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ – สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ เขาคิชฌกูฏ เขตพระนครราชคฤห์ ก็สมัยนั้น นิโครธปริพาชก อาศัยอยู่ในปริพาชการามของพระนางอุทุมพริกาพร้อมด้วยปริพาชกบริษัทหมู่ใหญ่ ประมาณ ๓,๐๐๐ ครั้งนั้น สันธานคฤหบดีออกจากพระนครราชคฤห์ในเวลาบ่ายวันหนึ่งเพื่อจะเฝ้าพระผู้มีพระภาค สันธานคฤหบดี ดำริว่า เวลานี้ยังไม่เป็นเวลาอันสมควรเพื่อจะเฝ้าพระผู้มีพระภาคก่อน พระผู้มีพระภาคยังกำลังทรงหลีกเร้นอยู่ แม้ภิกษุทั้งหลายผู้อบรมใจ ก็ไม่ใช่สมัยที่จะพบ ภิกษุทั้งหลายผู้อบรมใจก็ยังหลีกเร้นอยู่ ถ้ากระไร เราควรจะเข้าไปหานิโครธปริพาชกยังปริพาชการามของพระนางอุทุมพริกา จึงเข้าไป ณ ที่นั้น ฯ สมัยนั้น นิโครธปริพาชกนั่งอยู่กับปริพาชกบริษัทหมู่ใหญ่ กำลังสนทนาติรัจฉานกถาต่างเรื่อง …

อุทุมพริกสูตร Read More

แนวคิด สายเหยี่ยว และสายพิราบ

แนวคิด สายเหยี่ยว และสายพิราบ เป็นภาษาที่ใช้กันมากในช่วงทศวรรษ 1960 หรือยุคสงครามเย็น ในความเป็นจริงแล้ว คำว่าสายเหยี่ยว หรือภาษาเดิมคือ “เหยี่ยวสงคราม” (war hawk) เป็นคำที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1792 และใช้ในความหมายของคนที่สนับสนุนนโยบายการสงครามของรัฐในยามสันติ ต่อมาในปี 1798 โทมัส เจฟเฟอร์สัน ใช้คำนี้อีกครั้งหมายถึงพวกที่ชอบสนับสนุนให้รัฐบาลประกาศสงครามกับฝ่ายตรงข้าม ในขณะที่พิราบนั้น เป็นคำเก่าแก่ที่ปรากฏในไบเบิลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของน้ำท่วมโลกและโนอาร์ปล่อยนกพิราบจากเรือของเขา ต่อมานกพิราบบินกลับมาพร้อมช่อมะกอก ทำให้ “นกพิราบและช่อมะกอก” ถูกถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ เพราะนกพิราบบินกลับเมื่อน้ำที่ท่วมโลกได้ลดลง โดยทั่วไปแล้วคนที่ถูกเรียกว่าสายเหยี่ยว หมายถึง กลุ่มคนที่สนับสนุนสงคราม …

แนวคิด สายเหยี่ยว และสายพิราบ Read More

อานิสงส์ของการทอดกฐิน

บุญกฐิน กำหนดทำกันในระหว่างวันแรม 1 ค่ำเดือน 11 ถึง ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 สำหรับจุดประสงค์หลักของการทำบุญกฐินนั้น เพื่อที่จะให้พระภิกษุสงคฆ์ที่จำพรรษาแล้วไดัมีผ้าผลัดเปลี่ยนใหม่ เป็นงานบุญที่มีปีละครั้ง คำว่า”กฐิน”เป็นชื่อของสังฆกรรมชนิดหนึ่งในพระพุทธศาสนา ที่ใช้พระสงฆ์เป็นพยานในการทำ 5 รูปเป็นอยางน้อย คือ 4 รูปเป็นองค์สงฆ์หรือพยาน และอีก 1 รูปเป็นองค์ครองผ้ากฐิน

อานิสงส์ของการทอดกฐิน Read More

วันออกพรรษา ตักบาตรเทโว

วันออกพรรษา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วันมหาปวารณา เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธ ถือเป็นวันสิ้นสุดระยะเวลาจำพรรษา 3 เดือนของพระสงฆ์ นิกายเถรวาท วันออกพรรษาเป็นวันที่พระสงฆ์จะทำสังฆกรรม คือ การปวารณา วันออกพรรษา (ออกปุริมพรรษา1) จะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 (ประมาณเดือนตุลาคม) หลังวันเข้าพรรษา 3 เดือน ตามปฏิทินจันทรคติไทย การตักบาตรเทโว คำว่า เทโว เรียกมาจากคำว่า เทโวโรหณะ (เทว+โอโรหณ) ซึ่งแปลว่า …

วันออกพรรษา ตักบาตรเทโว Read More

เทศกาลนวราตี

นวราตรี เป็นเทศกาล ในศาสนาฮินดูรายปีที่เฉลิมฉลองเทิดเกียรติ แด่พระแม่ทุรคา ปางหนึ่งของพระแม่อุมาเทวี คำว่า นวราตรี มาจากภาษาสันสกฤต คำว่า นว แปลว่าเก้า และ ราตรี แปลว่าค่ำคืน จึงแปลรวมกันว่า เก้าคืน กินระยะเวลาเก้าคืน ในเดือนอัศวินตามปฏิทินฮินดู ตามปรัมปราวิทยาฮินดู เชื่อว่าเก้าปางอวตาร คือพระทุรคาทั้งเก้าระยะ ในระหว่างการรบกับเจ้าแห่งอสูร มหิษาสูร และวันที่สิบจะฉลองเป็นวันวิชัยทัศมี ( วันแห่งชัยชนะ) การเฉลิมฉลองนี้ถือเป็นเทศกาลที่สำคัญที่สุดเทศกาลหนึ่งของชาวฮินดู ที่มา นวราตรีมีความหมายเดียวกับทุรคาบูชา เฉลิมฉลองชัยชนะของพระทุรคาเหนืออสูรควาย …

เทศกาลนวราตี Read More

ไหว้พระพรหม พักตร์ไหน มีความหมายว่าอะไร

พระพรหมเป็นเทพผู้สร้างและกำหนดความเป็นไปของทุกสิ่ง ผู้ที่บูชาพระพรหมและประพฤติดี กระทำแต่ความดี จะได้รับการบันดาลพรให้สมหวังตามที่หวังไว้ พระพรหมทรงมีพระพักตร์สี่หน้า ในทางพุทธ อาจหมายถึงพรหมวิหารสี่ เมื่อตั้งมั่นและยึดถือปฏิบัติก็ย่อมได้รับแต่สิ่งดี ๆ

ไหว้พระพรหม พักตร์ไหน มีความหมายว่าอะไร Read More

บาบา วานก้า หมอดูตาบอดชื่อดัง ทำนายอนาคตโลก

บาบา วานก้า หมอดูตาบอด ทำนายอนาคตโลก เธอได้รับการตั้งฉายาว่า นอสตราดามุสแห่งบอลข่าน “Nostradamus from the Balkans” ชื่อโดยกำเนิดของเธอคือ Vangelija Gušterova แต่คนส่วนใหญ่จะรู้จักเธอในนามบาบา วานก้า หรือคุณยายวานก้า คำทำนายของคุณยายผู้นี้นั้นเป็นจริงมากกว่า 85%

บาบา วานก้า หมอดูตาบอดชื่อดัง ทำนายอนาคตโลก Read More

ความหมายธงกฐิน จระเข้-ตะขาบ-นางมัจฉา-เต่า

ในการทอดกฐินหรือการถวายผ้ากฐิน มีความเกี่ยวเนื่องกับธงกฐินมาแต่อดีต  ธงกฐิน เป็นเครื่อง หมายแสดงให้รู้ว่าวัดนี้ได้รับผ้ากฐินแล้วมี 4 แบบ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แสดงเกี่ยวข้องกับงานกฐิน

ความหมายธงกฐิน จระเข้-ตะขาบ-นางมัจฉา-เต่า Read More